เล่ม 29 พระสุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย มหานิทเทส


29-001 กามสุตตนิทเทส อธิบายกามสูตร
29-002 การละกามโดยเหตุ 2 อย่าง
29-003 บุคคลที่ละกามได้โดยการข่มไว้ 10 จำพวก
29-004 บุคคลที่ละกามได้โดยการข่มไว้ 8 จำพวก
29-005 บุคคลที่ละกามได้โดยการตัดขาด 4 จำพวก
29-006 อันตราย 2 อย่าง
29-007 ธรรม 3 ประการ เป็นมลทินภายใน
29-008 ผู้มีสติทุกเมื่อ
29-009 คุหัฏฐกสุตตนิทเทส อธิบาย นรชนผู้ข้องอยู่ในถ้ำคือกาย
29-010 วิเวก 3 อย่าง
29-011 กาม 2 อย่าง
29-012 กาม 2 อย่าง
29-013 ความตระหนี่ 5 อย่าง
29-014 สิกขา 3
29-015 ชีวิตเป็นของน้อยด้วยเหตุ 2 ประการ
29-016 ปัญญาที่เรียกว่า ธี
29-017 หมู่สัตว์ดิ้นรนอยู่ในโลกเพราะตัณหา
29-018 ความยึดถือ 2 อย่าง
29-019 ผัสสะต่าง ๆ
29-020 ปริญญา 3
29-021 ความไม่ประมาท
29-022 ทุฏฐัฏฐกสุตตนิทเทส อธิบาย เดียรถีย์ประทุษร้ายมุนี
29-023 กิเลสเครื่องตรึงจิต 3 ประการ
29-024 ทิฏฐิ
29-025 ศีลและวัตร
29-026 ผู้ได้ชื่อว่าภิกษุ
29-027 ผู้มีอริยธรรม
29-028 การเชิดชู 2 อย่าง
29-029 สันติ 3 อย่าง
29-030 ความถือมั่น
29-031 การสลัดทิ้ง 2 อย่าง
29-032 ปัญญาเครื่องกำจัด
29-033 ความหลอกลวงและความถือตัว
29-034 ความถือมั่น 2 อย่าง
29-035 ความเห็นว่ามีตนและไม่มีตน
29-036 สุทธัฏฐกสุตตนิทเทส อธิบาย ผู้พิจารณาเห็นความหมดจด
29-037 ความหมดจด เป็นต้น
29-038 ความเชื่อถือว่า เป็นมงคล ไม่เป็นมงคล
29-039 ความหมดจดด้วยศีลและวัตร
29-040 การละบุญและบาป
29-041 การละตน
29-042 การจับๆ ปล่อย ๆ พ้นกิเลสไม่ได้
29-043 การดำเนินไปลุ่มๆ ดอน ๆ
29-044 ผู้รู้ธรรม 7 ประการ
29-045 เสนามาร
29-046 คุณลักษณะของสัตบุรุษ
29-047 พระอรหันต์
29-048 ปรมัฏฐกสุตตนิทเทส อธิบาย ผู้ยึดถืออยู่ในทิฏฐิ
29-049 อานิสงส์ในทิฏฐิ
29-050 ความเห็นของผู้ฉลาด
29-051 ภิกษุไม่พึงมีทิฏฐิมานะ
29-052 ภูมิธรรมของพระอรหันต์
29-053 พระอรหันต์ได้ชื่อว่าพราหมณ์
29-054 การกำหนด 2
29-055 พระอรหันต์ชื่อว่าเป็นผู้มั่นคง
29-056 ชราสุตตนิทเทส อธิบาย ชรา
29-057 ชีวิตเป็นของน้อยด้วยเหตุ 2 ประการ
29-058 คนเศร้าโศกเพราะการยึดถือ
29-059 การยึดถือเบญจขันธ์
29-060 สิ่งที่เกี่ยวข้องอุปมาเหมือนความฝัน
29-061 สิ่งต่าง ๆ สลายไปเหลือแต่ชื่อ
29-062 ความตระหนี่ 5 อย่าง
29-063 โมเนยยธรรม 3 ประการ
29-064 ผู้ประพฤติหลีกเร้น
29-065 สิ่งเป็นที่รัก 2 จำพวก
29-066 ติสสเมตเตยยสุตตนิทเทส อธิบาย ปัญหาของติสสเมตเตยยะ
29-067 เมถุนธรรม
29-068 ด้วยวิเวก 3
29-069 ภควา
29-070 คำสอน 2 ส่วน
29-071 ผู้บวชแล้วสึก
29-072 ยศและเกียรติ
29-073 สิกขา 3
29-074 ข้อเสียของภิกษุ
29-075 ศัสตรา 3 อย่าง
29-076 มุสาวาท
29-077 ต้นตรงปลายคด
29-078 การลงโทษ
29-079 ปฏิปทาของมุนี
29-080 ปสูรสุตตนิทเทส อธิบาย ปริพาชกชื่อว่าปสูระ
29-081 การยกวาทะ
29-082 แพ้วาทะแล้วขัดเคือง
29-083 ถูกข่มด้วยวาทะแล้วเสียใจ
29-084 โทษของการวิวาท
29-085 วิวาทกันเพราะทิฏฐิ
29-086 เสนามาร
29-087 พระปัญญาของพระพุทธเจ้า
29-088 มาคันทิยสุตตนิทเทส อธิบาย เมถุนธรรม
29-089 ทิฏฐิ 62
29-090 ปุราเภทสุตตนิทเทส อธิบาย ก่อนการดับขันธปรินิพพาน
29-091 คำถามของพระพุทธเนรมิต
29-092 อธิบายคำว่า ภควา
29-093 ความมุ่งหวัง 2 อย่าง
29-094 เหตุเกิดความโกรธ 10 อย่าง
29-095 ผู้ไม่สะดุ้ง
29-096 ผู้ไม่โอ้อวด
29-097 ผู้ไม่คะนอง
29-098 ปัญญาเรียกว่า มันตา
29-099 การสำรวมวาจา
29-100 ผู้ไม่มีตัณหา
29-101 ผู้ไม่เศร้าโศก
29-102 ผัสสะ
29-103 ผู้หลีกเร้น
29-104 ความหลอกลวง 3 อย่าง
29-105 ความตระหนี่ 5 อย่าง
29-106 ความคะนอง 3 อย่าง
29-107 ผู้น่ารังเกียจและไม่น่ารังเกียจ
29-108 ผู้มีวาจาส่อเสียด
29-109 กามคุณ 5
29-110 ความดูหมิ่น
29-111 ผู้มีปฏิภาณ 3 จำพวก
29-112 รู้ธรรมแล้วไม่ต้องเชื่อใครอีก
29-113 ผู้ไม่คลายกำหนัด
29-114 ศึกษาเพราะอยากได้ลาภ
29-115 โกรธเพราะการไม่ได้
29-116 อุเบกขามีองค์ 6
29-117 กิเลสหนา 7 อย่าง
29-118 ที่อาศัย
29-119 ตัณหา
29-120 กิเลสเครื่องร้อยรัด 4 อย่าง
29-121 ตัณหามีชื่อต่าง ๆ
29-122 บุตร เป็นต้น
29-123 ทิฏฐิ
29-124 การเชิดชู 2 อย่าง
29-125 การกำหนด 2 อย่าง
29-126 ผู้ไม่มีความถือว่าเป็นของตน
29-127 ผู้ไม่เศร้าโศก
29-128 ผู้ไม่ลำเอียง
29-129 ผู้สงบ
29-130 กลหวิวาทสุตตนิทเทส อธิบาย การทะเลาะวิวาท
29-131 ความคร่ำครวญ
29-132 ความเศร้าโศก
29-133 ผู้มีวาจาส่อเสียด
29-134 การทะเลาะเป็นต้น มาจากสิ่งเป็นที่รัก
29-135 อะไรเป็นต้นเหตุแห่งสิ่งเป็นที่รัก
29-136 สิ่งเป็นที่รัก 2 จำพวก
29-137 ความหวัง
29-138 ฉันทะเป็นต้น มีอะไรเป็นต้นเหตุ
29-139 ความเกิดแห่งรูป
29-140 การตัดสินใจ
29-141 เหตุให้เกิดความโกรธ
29-142 เหตุให้เกิดการกล่าวเท็จ
29-143 เหตุให้เกิดความสงสัย
29-144 สิกขา 3
29-145 ธรรมที่พระสมณะทรงทราบ
29-146 ต้นเหตุความดีใจและความเสียใจ
29-147 ต้นเหตุแห่งผัสสะ
29-148 ความยึดถือมีต้นเหตุมาจากความปรารถนา
29-149 มหาภูตรูป 4
29-150 ธรรมเป็นเครื่องเนิ่นช้า
29-151 ความหมดจดแห่งอรูปสมาบัติ
29-152 ปัญญาเครื่องพิจารณา
29-153 จูฬวิยูหสุตตนิทเทส อธิบาย การวิวาทกันเพราะทิฏฐิสูตรเล็ก
29-154 วิวาทกันเพราะถือทิฏฐิ
29-155 สัจจะมีอย่างเดียว
29-156 ความจริงไม่ต่างกัน
29-157 เจ้าลัทธิแสดงความดูหมิ่นผู้อื่น
29-158 เจ้าลัทธิเห็นคนอื่นเป็นพาล
29-159 ทิฏฐิ 62 ตรัสเรียกว่าอติสารทิฏฐิ
29-160 ทิฏฐิเรียกว่าติตถะ
29-161 ทิฏฐิของพวกเดียรถีย์
29-162 มหาวิยูหสุตตนิทเทส อธิบาย การวิวาทกันเพราะทิฏฐิสูตรใหญ่
29-163 ผลแห่งการวิวาท 2 อย่าง
29-164 กิเลสเป็นเหตุเข้าถึง 2 อย่าง
29-165 ผู้มีกุศลถึงพร้อมประกอบด้วยธรรม 4 ประการ
29-166 การสมาทานวัตรต่าง ๆ
29-167 เหตุให้เคลื่อนจากศีลวัตร
29-168 กรรมมีโทษและกรรมไม่มีโทษ
29-169 เหตุที่ติเตียนมี 2 อย่าง
29-170 ภาระ 3 อย่าง
29-171 โมเนยยธรรม 3 ประการ
29-172 อธิบายคำว่า ภควา
29-173 ตุวฏกสุตตนิทเทส อธิบาย ภิกษุผู้กำจัดบาปธรรมอย่างเร็วพลัน
29-174 การถาม 3 อย่าง
29-175 วิเวก 3 อย่าง
29-176 ธรรมเป็นเครื่องเนิ่นช้า
29-177 ผู้มีสติด้วยเหตุ 4
29-178 มานะ
29-179 กิเลสเครื่องฟูใจ 7 อย่าง
29-180 พระจักษุ 5 ชนิด
29-181 อันตราย 2 อย่าง
29-182 ธรรม 3 ประการ เป็นมลทินภายใน
29-183 เรื่องผู้มีตาลอกแลก
29-184 โรคต่าง ๆ
29-185 ภัยและความขลาดกลัว
29-186 ข้าวน้ำและของขบเคี้ยว
29-187 ผู้มีฌาน
29-188 เรื่องผู้มีเท้าอยู่ไม่สุข
29-189 ความไม่ประมาท
29-190 เรื่องการแบ่งเวลา
29-191 ความเกียจคร้าน
29-192 การเล่น 2 อย่าง
29-193 การประดับตกแต่ง 2 อย่าง
29-194 การทำอาถรรพณ์
29-195 การทำนายฝัน
29-196 การทำนายลักษณะ
29-197 การดูฤกษ์ยาม
29-198 การบำบัดรักษาโรค
29-199 ไม่หวั่นไหวเพราะนินทาและสรรเสริญ
29-200 กิเลส
29-201 การพูดเลียบเคียง
29-202 ผู้ไม่โอ้อวด
29-203 การกล่าววาจามุ่งได้
29-204 ความคะนอง 3 อย่าง
29-205 มุสาวาท
29-206 อัตตทัณฑสุตตนิทเทส อธิบาย ความกลัวเกิดจากโทษของตน
29-207 ทุกข์ต่าง ๆ
29-208 โลก
29-209 สังขารไม่เที่ยง
29-210 ลูกศร 7 ชนิด
29-211 ภาวะของสัตว์ที่ถูกลูกศรแทง
29-212 การศึกษาเพื่อได้กามคุณ
29-213 ความเป็นผู้หลอกลวง
29-214 ความเกียจคร้าน
29-215 การทำบุญมุ่งนิพพาน
29-216 ความถือตัวมีนัยต่าง ๆ
29-217 กิเลสเครื่องเกี่ยวข้อง
29-218 ตัณหาตรัสเรียกว่าห้วงน้ำใหญ่
29-219 อมตนิพพานตรัสเรียกว่าบก
29-220 กาม 2 อย่าง
29-221 ตัณหาตรัสเรียกว่ากระแส
29-222 อนาคตตรัสเรียกว่าส่วนภายหลัง
29-223 นามรูป
29-224 ผู้ไม่เศร้าโศก
29-225 ความเสื่อมมีแก่ผู้ยึดถือ
29-226 อิทัปปัจจยตา
29-227 โลกว่าง
29-228 ผู้ไม่ริษยา
29-229 ผู้ไม่หวั่นไหว
29-230 คุณสมบัติของมุนี
29-231 สารีปุตตสุตตนิทเทส อธิบาย พระสารีบุตรกล่าวสรรเสริญพระพุทธคุณ
29-232 พระสุรเสียงของพระพุทธเจ้าประกอบด้วยองค์ 8
29-233 พระพุทธเจ้าทรงเป็นพระคณาจารย์
29-234 พระพุทธเจ้าปรากฏแก่เทวดาและมนุษย์
29-235 พระจักษุ 5 ชนิด
29-236 พระพุทธเจ้าทรงเป็นเอกบุรุษ
29-237 พระนามของพระพุทธเจ้า
29-238 ตัณหาทิฏฐิ
29-239 ผู้มั่นคงด้วยอาการ 5 อย่าง
29-240 เรื่องหลอกลวง 3 อย่าง
29-241 พระพุทธเจ้าทรงเป็นพระคณาจารย์
29-242 ธรรม 3 ประการ เป็นมลทินภายใน
29-243 ทิศที่ไม่เคยไป
29-244 ความบริสุทธิ์แห่งวาจา
29-245 อโคจรและโคจร
29-246 ศีลและวัตร
29-247 การอบรมตน
29-248 การสมาทานสิกขา 3
29-249 การกำจัดมลทิน
29-250 อธิบายคำว่า ภควา
29-251 ภิกษุผู้เป็นนักปราชญ์
29-252 สหธรรมิก
29-253 ความหนาวมีด้วยเหตุ 2 อย่าง
29-254 การแผ่เมตตา
29-255 ความโกรธและความดูหมิ่น
29-256 การมีปีติและการเชิดชูปัญญา
29-257 ความวิตกเป็นเหตุรำพัน
29-258 การได้อาหารและเครื่องนุ่งห่มโดยชอบธรรม
29-259 ความรู้จักประมาณ 2 อย่าง
29-260 ความตรึก 9 อย่าง
29-261 ธุลี 5 อย่าง
29-262 จิตหลุดพ้น 12 ขั้น
29-263 กาลแห่งสมถะและวิปัสสนา
29-264 อธิบายคำว่า ภควา

สนทนาธรรม

comments

Comments are closed.